NEW STEP BY STEP MAP FOR วิกฤตคนจน

New Step by Step Map For วิกฤตคนจน

New Step by Step Map For วิกฤตคนจน

Blog Article

หลังจากมีข่าวออกมาว่ารัฐบาลจะปรับลดงบประมาณในนโยบายดิจิทัลด้วยการเจาะจงช่วยเหลือกลุ่มบุคคลยากจนหรือผู้ที่มีรายได้น้อยเท่านั้น สิ่งหนึ่งที่เป็นที่ถกเถียงกันในไทยก็คือระดับรายได้ของคนที่เรียกได้ว่า ‘ยากจน’ ในไทยว่าต้องมีรายได้หรือใช้ชีวิตแบบไหนถึงเรียกได้ว่าเป็นคนจนที่ควรได้รับความช่วยเหลือ

สำหรับช่องว่างนี้ ดร.บัณฑิต นิจถาวร อธิบายว่า “เกิดจากระบบแรงจูงใจทางเศรษฐกิจที่ผิดพลาด ที่เป็นผลจากการดำเนินนโยบายเศรษฐกิจ ทำให้ภาคอุตสาหกรรมในประเทศไม่มีการพัฒนา ไม่มีนวัตกรรม ไม่มีการลงทุนใหม่ ไม่มีสินค้าใหม่ๆ ที่จะไปแข่งขันกับต่างประเทศเพื่อสร้างรายได้ ขณะเดียวกันภาคธุรกิจ โดยเฉพาะบริษัทใหญ่ ก็ได้รับการปกป้องในการทำธุรกิจในประเทศ จนทำให้การทำธุรกิจในประเทศมีการแข่งขันน้อย ธุรกิจขนาดใหญ่มีอิทธิพลมากจากสัดส่วนตลาดที่มีสูงและความใกล้ชิดกับผู้ทำนโยบาย สิ่งเหล่านี้ทำให้การแข่งขันที่มีน้อยเป็นข้อจำกัดต่อผู้ประกอบการรายใหม่ ธุรกิจขนาดกลางและธุรกิจจากต่างประเทศ ผลคือไม่มีแรงจูงใจให้เกิดการลงทุนในประเทศโดยผู้เล่นรายใหม่และเศรษฐกิจเสียโอกาส นี่คืออีกประเด็นที่ลืมไม่ได้และต้องแก้ไข เพื่อการขับเคลื่อนเศรษฐกิจในระยะยาว”

วรุตม์ พงศ์พิพัฒน์ พาไปสำรวจโลกของ ‘ผู้ชายขายบริการ’ ในย่านสีลมและพื้นที่ใกล้เคียง เปิดปูมหลังชีวิตของพนักงานบริการในร้านนวด ร้านคาราโอเกะ ไปจนถึงบาร์อะโกโก้ พร้อมตีแผ่แง่มุมลับๆ ที่ยากจะเข้าถึง

สันติประชาธรรมในการพัฒนาทางเศรษฐกิจ

หรือเมืองไทยจะกลายเป็น ‘เซฟเฮาส์โลก’ ชาวเมียนมาแห่ซื้อคอนโดฯ ในไทย สะท้อนอะไร ?

ข้อมูลทางการที่รายงานโดยกรมสุขภาพจิตนั้น มีตัวชี้วัดหลัก ๆ สามตัว ได้แก่

รูปแบบถัดมา คือ “การออมแบบผ่อนส่ง” ผ่านนายทุนนอกระบบ สจวร์ต กล่าวโดยสรุปว่า ในสภาพแวดล้อมที่อุปสงค์ของบริการเงินออมมีสูงกว่าอุปทานมาก ไม่น่าแปลกใจที่เงินกู้สำหรับคนจนจะเป็นแค่อีกวิธีในการแปลงเงินออมให้เป็นเงินก้อน “เงินกู้นอกระบบ” แบบนี้ นายทุนจะเป็นคนตัดสินใจด้วยการกำหนดมูลค่าของเงินกู้ หรืออย่างน้อยก็กำหนดเป็นมูลค่าสูงสุด รวมถึงตารางการผ่อนส่งเพื่อชำระหนี้ นั่นหมายถึงนายทุนจะเป็นผู้ประเมินความสามารถในการออมของลูกค้า

เศรษฐกิจและความสัมพันธ์ ระหว่างประเทศ เศรษฐกิจระหว่างประเทศ

ทั้งนี้ สถานการณ์ความยากจนและความเหลื่อมล้ำที่เพิ่มขึ้นไม่มาก เกิดจากการช่วยเหลือของรัฐซึ่งเป็นผล ”ชั่วคราว” ซึ่งหากความช่วยเหลือหมดลงในช่วงที่เศรษฐกิจและการจ้างงานยังไม่ฟื้นตัวสถานการณ์ความยากจนและความเหลื่อมล้ำจะรุนแรงกว่าเดิม

‘สวัสดิการแบบถ้วนหน้า’ เป็นสิ่งที่ควรวางแผน และดำเนินการอย่างเร่งด่วน ที่ผ่านมารัฐบาลกังวลเรื่องการใช้จ่ายงบประมาณ แต่เขาให้ความเห็นว่า เรื่องที่จำเป็น รัฐบาลต้องทุ่มงบประมาณลงไปดูแล โดยที่ไม่เสียดาย เช่น สวัสดิการดูแลเด็กเล็ก เพราะเมื่อไหร่ที่เด็กมีปัญหาในการใช้ชีวิต การพัฒนาต่อจากนั้นย่อมไม่สามารถเกิดขึ้นได้ รัฐบาลหาช่องทางของงบประมาณเพื่อให้สวัสดิการเป็นเกราะป้องกันประชาชน เมื่อพบเจอวิกฤต และสามารถใช้ชีวิตต่อไปได้โดยไม่ต้องกังวล

ส่วนรูปธรรมหนึ่งของวลีเชิงวิชาการ “ประเทศไทยติดกับดักรายได้ปานกลาง” คือ ปัญหาความยากจนและความเหลื่อมล้ำทางรายได้ของประชาชนไทยตกอยู่ในอันดับที่น่าเป็นห่วง แต่การรับรู้ได้ถึงสถานการณ์ “ความยากจน” ที่แท้จริงนั้น คงไม่มีใครตอบได้ นอกจากเจ้าตัว ว่าชีวิตความเป็นอยู่ที่ว่ายากจนนั้นอยู่ในระดับไหน

“ไม่ต้องถึงกับว่าต้องมาติดแอร์ให้ ขอแค่ช่วยบรรเทาจากหนักเป็นเบา ช่วยให้ค่าไฟลดลงได้ไหม หรือทำอย่างไรให้คนจนรู้สึกว่ามีเวลาพักผ่อนได้เพียงพอในเวลากลางคืนเหมือนปกติ เพื่อให้ตื่นไปทำงานได้” วิมล กล่าว

“แนวโน้มความยากจนในช่วงที่ผ่านมาแสดงให้เห็นว่า แม้ประเทศไทยจะมีการพัฒนาการด้านเศรษฐกิจที่ดีในระดับหนึ่ง แต่กระนั้น ครัวเรือนก็ยังมีความเปราะบางต่อภาวะการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจอย่างรุนแรง และภาวะเศรษฐกิจอ่อนแอ” เบอร์กิท ฮานสล์ ผู้จัดการธนาคารโลกประจำประเทศไทยกล่าว “การที่ประเทศไทยจะก้าวสู่สถานะประเทศที่มีรายได้สูงอย่างที่ตั้งเป้าหมายไว้ได้นั้น ครัวเรือนของประเทศไทยต้องได้รับการปกป้องจากการที่รายได้ของครัวเรือนปรับลดลงรุนแรง เช่น จากความเจ็บป่วย การตกงาน และภัยธรรมชาติที่ดีกว่านี้  ที่สำคัญไม่แพ้กันคือ ประเทศไทยต้องสนับสนุนให้มีการสร้างงานที่มีผลิตภาพและงานที่มีค่าจ้างที่สูงกว่านี้”

Functional cookies aid to complete specified functionalities like วิกฤตคนจน sharing the articles of the web site on social media marketing platforms, obtain feedbacks, and other 3rd-bash functions. Efficiency Functionality

Report this page